ข้อมูลหลักสูตรและการจัดการศึกษา

ระดับปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คณิตศาสตร์

ชื่อหลักสูตร

<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01strong><http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01tr>

<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td> ภาษาไทย <http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td> หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01tr>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td> ภาษาอังกฤษ<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td> Bachelor  of  Science  Program  in  Mathematics<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01tr>
ชื่อปริญญา<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01strong><http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01tr>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td> ภาษาไทย<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td> วิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตร์)<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01tr>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td> ภาษาอังกฤษ<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td> Bachelor  of  Science (Mathematics)<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01tr>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01tbody>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01table>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td>
 <http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01td>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01tr>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01tbody>
<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01table>
ปรัชญาของหลักสูตร<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01strong>เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาศักยภาพของบัณฑิตให้มีความรู้  ความสามารถทางคณิตศาสตร์  มีการคิดที่เป็นระบบ  สามารถแก้ปัญหา  และมีคุณธรรม  จริยธรรม  ตลอดจนสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพและพัฒนาประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปริญญาโทและเอกได้ทั้งในและต่างประเทศ
ความสำคัญ<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01strong>
เป้าหมายของการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ คือ การพัฒนาคนและคุณภาพของคนให้เป็นผู้ที่มีปัญญา รู้จักเหตุและผล รู้จักแก้ปัญหาได้อย่างชาญฉลาด รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มุ่งพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงามทั้งในการทำงาน และการอยู่ร่วมกัน จะเห็นได้ว่า การจัดการศึกษาในปัจจุบันให้ความสำคัญในเรื่องการแก้ปัญหา ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ประการหนึ่งในการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์  ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา ฝึกกระบวนการคิด  ทำให้ผู้เรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์และการให้เหตุผล และเพื่อเป็นการรองรับความต้องการกำลังคนด้านคณิตศาสตร์ของประเทศ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01strong>

1. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม พร้อมที่จะพัฒนาท้องถิ่น

2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่ตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์มีเจตคติที่ดีต่อวิชา คณิตศาสตร์และผู้ที่ความสามารถแสวงหาความคิดด้วยตนเอง

3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถคิดอย่างมีเหตุผลตามหลักคณิตศาสตร์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา

4. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์และสามารถนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์กับศาสตร์อื่นๆ


แนวทางประกอบอาชีพ<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01strong>

สามารถทำงานได้ในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชน เช่น นักคณิตศาสตร์ สถิติ คอมพิวเตอร์ และครูhttp://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01อาจารย์สอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนhttp://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01สถาบันการศึกษาระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา หรือประกอบอาชีพอิสระ และสามารถศึกษาต่อระดับ


ระบบการจัดการศึกษา<http://202.29.18.37/foodsci/wp-content/uploads/sites/38/2016/01strong>

ระบบทวิภ%